วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ทรัพยากรมนุษย์ (HR) ในอนาคตนั้

สิ่งที่นัก HR ต้องปรับตัวคือการมองภาพ HR ทั้งหมดเป็นองค์รวม มองด้วยความเข้าใจ ซึ่งต้องอาศัย 3 สิ่งในการทำงาน ได้แก่
    1) "
หัว" ใช้ในการวิเคราะห์ กำหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ต่างๆ 
    2) "
ใจ" ต้องบริหารความสัมพันธ์ของคนในองค์การทั้งหมด 
    3) "
กึ๋น" ใช้ในการบริหารและขับเคลื่อนงานต่างๆ ที่วางไว้  
    นัก HR ต้องเฉชิญกับความท้าทายในการเปลี่ยนที่จะเกิดขึ้นทั้งกระแสจากภายนอก เช่น กระแสโลกาภิวัฒน์  ความรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศ  กระแสด้านมนุษยชน และการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม  สุดท้ายคือกระแสจากองค์กรต่างๆที่ไม่ใช่ของรัฐมากขึ้น   ส่วนกระแสจากภายใน เช่น พลังอำนาจของเอกชน และชุมชน  เศรษฐกิจ  สังคมแห่งความเสี่ยง  กฎหมายของประเทศ  แผนพัฒนาประเทศ  นโยบายและวาระเห็นชาติต่างๆ  สิ่งต่างๆ เหล่านี้นักอนาคตวิทยาได้คิดวิเคราะห์ แบ่งเป็น 3 ภาพ ดังนี้ 
    1) Positive Scnario
เป็นการมองภาพอนาคตในแง่ดี 
    2) Negative Scnario
เป็นการมองภาพอนาคตในแบบที่สถานการณ์ร้ายสุดๆ 
    3) The most Probable Scnario
เป็นการมองภาพอนาคตในแง่ที่มีความเป็นไปได้สูงสุด 
   
มีการคาดการณ์อนาคต 10 ปี ของโลกดังนี้
    1) ความเสื่อมโทรมทางทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น
    2) การชะงักของ โลกาภิวัฒน์ (Globalization) ซึ่งจะกลับมาสู่การกีดกันทางการค้ามากขึ้น
    3) ความไว้วางใจซึ่งกันและกันจะลดลง
    4) บทบาทภาครัฐบาลจะเพิ่มขึ้น
    5) ขาดความเชื่อมั่นในศาสตร์การบริหารจัดการของตะวันตก (เพราะบริษัทที่ล้มใหญ่ๆ มาจากชาติตะวันตก)
    6) จีน และอินเดียจะมีการบริโภคมากขึ้น
    7) จีน และอินเดียจะเป็นชาติมหาอำนาจแทนประเทศซีกตะวันตก
    8) ความได้เปรียบขึ้นอยู่กับผู้ที่มี นวัตกรรม (อุตสาหกรรมแนวสร้างสรรค์จะเพิ่มจำนวนมากขึ้น)
    9) การยืดหยุ่นจะมีมากขึ้น
    
    
สิ่งเหล่านี้เป็นความท้าทายที่นัก HR ต้องเผชิญโดยเฉพาะสิ่งที่ใกล้ตัวและได้มีการพูดถึงในปัจจุบันมากที่สุดในองค์การ คือเรื่องความแตกต่างของช่วงวัยของบุคลากรในองค์การ ซึ่งประกอบด้วย Baby Boomer   Gen-X  และ Gen-y ซึ่งนัก HR ต้องมีกลยุทธ์ในการจัดการให้บุคลากรในวัยต่างๆ เหล่านี้ทำงานด้วยกันอย่างรายรื่น
     นองจากนี้ยังเรื่องที่สำคัญที่นัก HR ต้องทำคือ
     1)
การสรรหา และรักษาคนเก่ง 
     2)
สร้างภาวะผู้นำให้กับคนในองค์กร 
     3)
สร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงวัฒนธรรมให้กับองค์การ โดยสอดคล้องกับธุรกิจขององค์การนั้นๆ 
     
ทั้งนี้ต้องอยู่บนพื้นฐานของการบริหารค่าใช้จ่าย และผลตอบแทนที่ได้รับจากการลงทุนด้วย
    
ผู้เสวนายังเสนอสมรรถนะที่นัก HR ต้องมี ได้แก่
     - สมรรถนะหลักขององค์กร (cOre competency)
     - รู้จักสินด้าและบริการขององค์การ (Business Acumen)
     -
การบริหารความเปลี่ยนแปลง (Change Mangement)
     -
ความคิดเชิงกลยุทธ์ (Stratgic Thinking)
     -
ความรู้ทางเทคโนโลยี (Technology Know-how)
     -
ภาวะผู้นำ (leader ship)
     - การจัดการความรู้ (KM: Knowledge Mangement)
     -
ทักษะการให้คำปรึกษา (Consulting skill)
     -
การสื่อสาร (communication)
     - ความรู้ด้านการพัฒนาองค์การ (OD: Organizational Development)
     -
การสร้างเครือข่าย (Networking)
     -
การวัดผล (Metrics Know-how)
     -
จรรยาบรรณ (Ethics and Intergrity)
นัก HR ต้องต่อสู้กับความท้าทายที่ต้องเอาชนะให้ได้ 3 สิ่ง ได้แก่
     1) Win Business
                - Productivity
                - Competitive Advancetage
                - Sustainable
     2) Win People
                - Engagment
                - Career Development
                - Work life Balance
     3) Win customer
                - Delight
                - Partnership
                - Trust

    
ท้ายนี้นัก HR ต้องเริ่มผันตัวเองจากผู้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น